Our Products
- Bolts (สกรูหัวหกเหลี่ยม)
- Nuts (หัวน็อต)
- SocketHeadCap (สกรูหัวจม)
- Machine Screw (สกรูมิลแฉก)
- Washers (แหวนรอง)
- Pins / Rivets / Hose Clamp
- Brass(ข้อต่อทองเหลือง)
- Cable Tie(เคเบิ้ลไทร์)
- Cable Gun (ปืนรัดเคเบิ้ลไทร์)
- Terminals(หางปลาทุกชนิด)
- Cable Clamps(แคล้มรัดสาย)
- Twist Locks (ทวิสล๊อค)
- Button Tubes
- Conduits (ท่อร้อยสายไฟ)
- Wire Ducts (รางครอบสายไฟ)
- Bushings (บุชชิ่ง)
- Cable Protection (ไส้ไก่,ปลอกหุ้มกันรอย)
- Cable Markers (เคเบิ้ลมารค์เกอร์)
- Cable Glands(เคเบิ้ลแกลน)
- Set Screw(สกรูตัวหนอน)
- Wire Conectors (วายนัท,คอนเน็กเตอร์,ข้อต่อหัวหมวก)
- Stainless Ball Lock Tie(เคเบิ้ลไทร์สแตนเลส)
- Releasable Ties (แบบปลดล๊อค)
- Push Mount ties
- Mountable Head Ties
- Grommeting (ปลอกหุ้มกันรอย)
- Conduit Adaptors (ตัวเชื่อมท่อFlex)
- Marker Ties (สายรัดมีป้าย)
- หางปลากลมเปลือย KST
- หางปลาสตัดเปลือย KST
- หางปลาแฉกเปลือย(Y) KST
- หางปลาหนา2ชั้น KST
- หางปลาเปลือยรูปธง KST
- หางปลาเปลือย อื่นๆ KST
- หัวเสียบก้านไม้ขีด KST
- ข้อต่อสายเปลือย KST
- หางปลาหนา KST
- หางปลาหุ้ม KST
- หัวเสียบไม้ขีดแบบหุ้ม KST
- สลิปหุ้ม KST
- หางปลาเสียบแบนหุ้ม KST
- หางปลาเสียบหุ้ม แบบใส KST
- หางปลาหุ้มท่อหดกันน้ำ KST
- ข้อต่อย้ำสายแบบเดี่ยวเปลือย KST
- ข้ำต่อย้ำสายคู่ cord end แบบเปลือย KST
- ข้อต่อย้ำสายแบบเดี่ยวหุ้ม Cord-end KST
- Closed end connectors(หมวก) KST
- Wire Nut ลวดสปริง KST
- ตลับหนีบสาย KST
- ปลอกหุ้มหางปลา(cap) KST
- Nylon Cabletie KST
- Releaseable cable tie KST
- Stainless Cabletie KST
ตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์
Facebook Fanpage
Tags Cloud
Our customers list
Visitors Counter
กำลังใช้งานขณะนี้
มี 23 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์
การทำทองแดงให้บริสุทธิ์ สิ่ง เจือปนที่มักจะมีอยู่ในทองแดง ได้แก่ เหล็ก เงิน ทอง แพลตินัม และสังกะสี เมื่อต้องการทำทองแดงให้บริสุทธิ์ (GRedCat) ต้องจัดให้แท่งทองแดงที่ไม่บริสุทธิ์เป็นขั้วแอโนด (LAnOX) และแผ่นทองแดงที่บริสุทธิ์เป็นแคโทดจุ่มอยู่ในสารละลายผสมของคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตกับกรดซัลฟิวริก ครึ่งปฏิกิริยารีดักชันและค่า E๐ ที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้ Au3+(aq) + 3e- Au(s) +1.50 V Pt2+(aq) + 2e- Pt(s) +1.20 V Ag+(aq) + e- Ag(s) +0.80 V Cu2+aq) + 2e- Cu(s) +0.34 V Fe2+(aq) + 2e- Fe(s) -0.44 V Zn2+(aq) + 2e- Zn(s) -0.76 V การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าตรงที่มีศักย์ไฟฟ้าที่เหมาะสม ลงไปในสารละลาย ดังนั้นที่ขั้วแอโนด สารที่จะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันก็คือ Cu แต่ค่า E๐ ของ Fe และ Zn มีค่าน้อยกว่า Cu จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ดีกว่า Cu2+, Fe2+ และ Zn2+ จึงละลายลงไปในสารละลาย ส่วน Au Pt และ Ag ซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าไม่สามารถเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ เมื่อแท่งทองแดงที่ไม่บริสุทธิ์กร่อนไปเรื่อย ๆ Au Pt และ Ag ก็จะตกเป็นตะกอนลงมาที่ก้นภาชนะ ที่ขั้วแอโนด Cu(s) Cu2+aq) + 2e- Fe(s) Fe2+(aq) + 2e- Zn(s) Zn2+(aq) + 2e- ที่ขั้วแคโทด Cu2+aq) + 2e- Cu(s) การชุบช้อนโลหะด้วยเงิน หลักการของการชุบโลหะด้วยไฟฟ้าคือ ต้องให้โลหะชนิดหนึ่งมาเคลือบบนโลหะอีกชนิดหนึ่งที่อยู่เป็นแคโทด โดยจัดเซลล์ดังนี้ ขั้วแอโนด: โลหะที่ใช้ชุบ ขั้วแคโทด: โลหะที่ต้องการชุบ สารละลายอิเล็กโทรไลต์: โลหะไอออนของโลหะที่เป็นแอโนด ไฟฟ้า: กระแสตรง
จาก รูป การชุบช้อนโลหะด้วยเงิน ต้องใช้เงินเป็นแอโนด ช้อนโลหะเป็นแคโทด และใช้สารละลายซิลเวอร์ไนเตรตเป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ขั้วแอโนด: Ag: Ag(s) Ag+(aq) + e- ขั้วแคโทด: ช้อน: Ag+(aq) + e- Ag(s) |
อ่านต่อ : http://writer.dek-d.com/enoomod/writer/viewlongc.php?id=313811&chapter=51#ixzz16pGpQUk4